FuzzyLogic_NC00112494_Mise en page 1 | 27/03/12 08:47 Page41 |
|
• ถ้าในระหว่างการปรุงอาหารและไม่มีการเลือกฟังก์ชัน โปรดกดปุ่ม "เริ่ม" | EN | |
เพื่อยืนยันการตั้งค่า มิเช่นนั้น หม้อหุงข้าวจะยังคงอยู่ในโหมดการตั้งค่า | ZH | |
|
| |
การทำความสะอาดและบำรุงรักษา | TH | |
| ||
ตรวจสอบจนมั่นใจว่าปลั๊กไฟได้ถูกถอดออกจากเต้าเสียบแลุะตัวหม้อข้าวเย็นตัวแล้วก่อนที่ | MS | |
จะทำความสะอาดหรือบำรุงรักษา |
|
ถาดรองไอน้ำ
•ถาดรองไอน้ำควรเทน้ำทิ้งและทำความสะอาดหลังการใช้งานแต่ละครั้ง
•ถอดถาดรองไอน้ำออก - Fig.14
หม้อชั้นใน ตะกร้านึ่ง ถาดรองไอน้ำ ถาดนึ่ง และ ฝาหม้อชั้นใน (Fig.15)
หม้อชั้นในเมื่อใช้ไปนานวัน | • | ใช้น้ำอุ่นผสมน้ำยาล้างจานและฟองน้ำนุ่มๆ ทำความสะอาดหม้อชั้นใน ถาดรองไอน้ำ |
อาจเกิดรอยขูดขีดขึ้นได้ |
| ถาดนึ่งอาหาร และฝาหม้อชั้นใน |
ซึ่งไม่มีผลต่อการใช้งาน |
| ไม่แนะนำให้ใช้แผ่นขัดผิวหยาบหรือฝอยขัดหม้อในการทำความสะอาด |
| • | หากมีอาหารติดที่ก้นหม้อชั้นใน ให้แช่หม้อในน้ำสักพักก่อนล้างทำความสะอาด |
| • | เช็ดหม้อชั้นในให้แห้งด้วยความระมัดระวัง |
| • | ห้ามจุ่มเครื่องลงในน้ำ หรือเทน้ำใส่เครื่อง คุณสามารถทำความสะอาดหม้อชั้นใน |
|
| ถาดนึ่งอาหารและฝาหม้อชั้นในด้วยเครื่องล้างจาน |
|
| โดยวางไว้ตะแกรงล่างของเครื่องล้างจาน |
การดูแลรักษาหม้อชั้นใน
สำหรับหม้อชั้นใน ควรปฏิบัติตามคำแนะนำด้านล่างนี้
•เมื่อวางหม้อชั้นในลงในเครื่องล้างจาน ระวังไม่ให้ผิวเคลือบกันติดเกิดการชำรุดจาก ตะแกรงของเครื่องล้างจาน
•ไม่ควรหั่นหรือสับอาหารในหม้อชั้นใน
เพื่อรักษาคุณภาพของผิวเคลือบเซรามิกให้ใช้งานได้ยาวนาน
•แน่ใจว่า ใส่หม้อชั้นในลงในเครื่องแล้ว
•ใช้ทัพพีพลาสติกหรือไม้ไม่ควรใช้ทัพพีโลหะตักอาหาร เนื่องจากอาจทำให้ผิวเคลือบ กันติดชำรุดได - Fig.16
•หลีกเลี่ยงความเสี่ยงของกรดกัดผิวเคลือบกันติด
ไม่ควรใช้น้ำส้มสายชูเทลงในหม้อชั้นใน
•สีของผิวเคลือบกันติดอาจเปลี่ยนได้หลังจากใช้งานครั้งแรกหรือใช้ไปนานวัน การ เปลี่ยนสีเนื่องจากปฏิกิริยาของไอน้ำและน้ำ ไม่มีผลต่อหม้อหุงข้าวและไม่เป็นอันตราย ปลอดภัยสำหรับการใช้งาน
การทำความสะอาดฝาระบายไอน้ำ ไมโคร-เพรสเชอร์วาล์ว
•ถอดฝาระบายไอน้ำ
ยินเสียง “คะ” ใส่ฝาระบายไอน้ำกลับเข้าที่เดิม | 41 |
|